วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555



สัปดาห์ที่ 6



วันที่  7  ธันวาคม  2555
เรียน วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

**  หมายเหตุ  ดิฉัน นางสาวสุกานดา  ชูสนิท ได้ขาดเรียน 1 วัน
                        เนื่องจากติดธุระ
         ดิฉัน จึงได้คัดลอกงานจาก   นางสาวนิภาพร  หมื่นยุทธ


กล่องสามารถนำมาสอนคณิตศาสตร์อะไรได้บ้าง ?

-รูปทรง

- พื้นที่

- ปริมาณ

- การนับ

- ขนาด

- การวัด(ใช้กล่องเป็นเครื่องมือในการวัด กล่องเป็นเครื่องมือแบบกึ่ง

มาตรฐาน มีขนาดที่คงที่แต่ไม่มาตรฐาน)

- การเรียงลำดับ


(1.วัดหาค่า สามารถนำสถิติและกราฟเข้ามาแทรกได้2. เปรียบเทียบ 

3. วางเรียงลำดับ )






- การจัดประเภท(กล่องยาสีฟัน-กล่องยาสีฟัน ที่เหลือไม่ใช่กล่อง

ยาสีฟัน)

- เศษส่วน(นำกล่องทั้งหมดมารวมกันทั้งหมด หลังจากนั้นนับ และ

เรียงลำดับ เช่น กล่องยาสีฟันมี 6 กล่อง จากของทั้งหมด 12 กล่อง 

คือ 6 ส่วน 12 คำว่าครึ่ง กล่องทั้งหมดจะต้องนำมาแบ่งครึ่งมา

ทำงานศิลปะ ให้เด็กจับออกมาเป็นคู่ๆ คือ 1:1 จนสุท้ายหมดไป)

- การทำตามแบบ(ครูเรียงกล่องให้เด็กดูและเด็กเรียงตาม)

- เซต(เซตกล่องยาสีฟัน,เซตกล่องเครื่องประทินผิว)

- การอนุรักษ์(วัตถุมีปริมาณคงที่แม้รูปร่างจะเปลี่ยนแปลงไป ถ้า

เป็นของแข็งจะใช้วิธี จัดวาง การจัดเรียง แต่ปริมาณยังคงที่ เด็กจะ

ถึงช่วงอนุรักษ์ได้ก็ต่อเมื่อเด็กมีเหตุผลแล้ว )


***การจัดการเรียนการสอนเด็ก ไม่จำเป็นต้องใช้เงินสูง แต่ต้องคิด

ให้เป็น ในสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวมีสื่งใดบ้างที่นำมาคิดได้บ้าง เช่น 

เรื่องของกล่อง

***การจัดการเรียนการสอนเด็ก ไม่จำเป็นต้องใช้เงินสูง แต่ต้องคิดให้เป็น ในสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวมีสื่งใดบ้างที่นำมาคิดได้บ้าง เช่น เรื่องของกล่อง

** อาจารย์ให้นักศึกษานับคนในห้องได้ 33 คน และให้แบ่งกลุ่มๆละ 

11 คน 3 กลุ่ม เมื่อเข้ากลุ่มแล้วอาจารย์ก็ถามทีละคนในห้องว่าเห็น

เป็นอะไร

   อรอนงค์   เห็นกล่องเป็น    ตู้เย็น

   พรทิพย์    เห็นกล่องเป็น   ทีวี

   ชลันดา     เห็นกล่องเป็น   ลำโพง

   สมฤดี       เห็นกล่องเป็น   โทรศัพท์

   นิภาพร     เห็นกล่องเป็น   ยางลบ

** อาจารย์ให้ทำตามกติกา

กลุ่มที่ 1 ให้คุยกันได้วางแผนได้ว่าจะสร้างกล่องมาประกอบกันเป็น

รูปอะไร

กลุ่มที่ 2 ห้ามพูดคุยกันและจะต้องวางกล่องทีละคนต่อจากเพื่อน

กลุ่มที่ 3 สามารถคุยกันได้แต่จะต้องวางกล่องทีละคนต่อจากเพื่อน















                กลุ่มที่ หุ่นยนต์

                กลุ่มที่ สถานีรถไฟ

                กลุ่มที่ ตึกหลากสี







*** สิ่งของที่เหลือใช้เศศวัสดุสามารถนำมาทำเป็นสื่อคณิตศาสตร์

ทำได้จากอะไร


-หลอดกาแฟ กล่อง กระดาษ ไม้ไอศกรีม ฝาขวดน้ำ แกนกระดาษ

ทิชชู กล่องนม ถ้วยปีโป้ แก้วพลาสติก ช้อนพลาสติก เปลือกลูกอม 

ขวดน้ำ กระป๋องน้ำอัดลม ถุงขนม ไม้เสียบลูกชิ้น ปฏิทิน จาน

กระดาษ เศษผ้า แผ่นซีดี กระดุม ถุงขนม

*** ถ้วยปีโป้ ขวดน้ำ กระป๋องน้ำอัดลม กล่องนม ถุงขนม สิ่งเหล่านี้

เราจะให้เด็กมีประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ผ่านการเล่นนำมาใช้ได้

อย่างไร

-เล่นผ่านกิจกรรมบทบาทสมมุติ (ร้านขายของ จะต้องมีราคาติดไว้ 

มีเงินปลอม ราคาควรเขียนเป็นจุดให้เด็กเห็น)

* เมื่อมีขยะแล้วเราสามารถนำมาจัดการเล่นให้เหมาะสมได้

***อาจารย์สั่งงานให้ทำสื่อคณิตศาสตร์จากเศษวัสดุเหลือใช้

กลุ่มที่ 1 ทำ ลูกคิด

กลุ่มที่ 2 ทำ ปฏิทิน

กลุ่มที่ 3 ทำ กราฟ


- ในการทำสื่อให้ทำแล้วทำอะไรต้องใช้ให้คุ้มกับสื่อที่ทำ ไม่ต้อง

ลงทุนแพง สามารถใช้ได้หลายๆลักษณะ

- อาจารย์ยังไม่แจ้งวันส่ง และคาดว่าอาจหลังปีใหม่

- มีสื่อของงานตนเอง 1 ชิ้นแต่ยังไม่สั่งให้ทำ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น