สัปดาห์ที่
3
วันที่
16 พฤศจิกายน 2555
เรียน
วิชา
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- อาจารย์ ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
เสร็จแล้ว อาจารย์ ให้สมาชิก 1 คน ในกลุ่มทุกกลุ่มยืนขึ้นแล้วให้เปลี่ยนไปอยู่กลุ่มอื่น จากนั้นได้ให้สมาชิกคนที่ 2 ในกลุ่มเดิมยืนขึ้นแล้วให้เปลี่ยนกลุ่มเหมือนกับสมาชิกคนที่
1 โดยห้ามไปอยู่ซ้ำกับกลุ่มที่เพื่อนคนแรกอยู่
จากนั้น อาจารย์ ให้แต่ละกลุ่มนำการบ้านที่ทำเสร็จแล้วมาวิเคราะห์
เป็นงานกลุ่ม คือ ให้นำงานของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มตัวเองมาอ่านทั้ง 3 คน แล้วมารวบรวมวิเคราะห์เนื้อหาทั้ง 3 คน มาสรุปเป็น
1 หัวข้อ แล้วทำเป็นงานกลุ่ม ทำแบบนี้จนถึงข้อสุดท้าย
หัวข้อมี ดังนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
2. จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์
3. ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
4. ขอบเขตของคณิตศาสตร์ มีอะไรบ้าง / เรื่องอะไรบ้าง
5. หลักการสอน /
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
จากนั้น
ก็ให้แต่ละกลุ่ม ให้ตัวแทนกลุ่มอ่านสรุปเนื้อหาให้เพื่อนๆฟังผลัดเปลี่ยนกันไปทีละกลุ่มแต่ละหัวข้อ
สรุปโดย
สมาชิกในกลุ่ม มีดังนี้
1. นางสาว สุกานดา ชูสนิท เลขที่ 16
2. นางสาว นุชนารถ ภาคภูมิ เลขที่ 8
3. นางสาว จารุวรรณ ม่วงมิตร เลขที่ 5
รายละเอียด มีดังนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เราไม่คุ้นเคยเราจึงจะต้องหาโอกาสศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและใส่ใจทำ ปฏิบัติ แก้โจทย์ปัญหาต่างๆอยู่เป็นประจำเสมอๆ เพื่อที่จะให้เกิดความเข้าใจในวิชานี้ ดังนั้น อาจจะกล่าวได้ว่า การคิด การคำนวณ เรื่องตัวเลข จำนวนการบวก การลบ การคูณ การหาร รวมทั้งรูปทรงต่างๆทางเรขาคณิตศาสตร์
(ศิวพร เชษฐธง,หลักการสอนคณิตศาสตร์,8,2535)
(เทะสึยะ คุรึยะ(แต่ง) ธนารักษ์ ธีระมั่นคง(แปล) ฝึกคิดคณิตแบบใหม่,7,2554)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ,34,2536)
สรุปโดย
สมาชิกในกลุ่ม มีดังนี้
1. นางสาว สุกานดา ชูสนิท เลขที่ 16
2. นางสาว นุชนารถ ภาคภูมิ เลขที่ 8
3. นางสาว จารุวรรณ ม่วงมิตร เลขที่ 5
รายละเอียด มีดังนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เราไม่คุ้นเคยเราจึงจะต้องหาโอกาสศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและใส่ใจทำ ปฏิบัติ แก้โจทย์ปัญหาต่างๆอยู่เป็นประจำเสมอๆ เพื่อที่จะให้เกิดความเข้าใจในวิชานี้ ดังนั้น อาจจะกล่าวได้ว่า การคิด การคำนวณ เรื่องตัวเลข จำนวนการบวก การลบ การคูณ การหาร รวมทั้งรูปทรงต่างๆทางเรขาคณิตศาสตร์
(ศิวพร เชษฐธง,หลักการสอนคณิตศาสตร์,8,2535)
(เทะสึยะ คุรึยะ(แต่ง) ธนารักษ์ ธีระมั่นคง(แปล) ฝึกคิดคณิตแบบใหม่,7,2554)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ,34,2536)
2. จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์
1. ทำให้รู้จักคุณค่าของคณิตศาสตร์และเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
2. มีความรู้ ความเข้าใจในวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานและมีทักษะในการทำงาน
3. รู้จักคิดอย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน และแสดงความคิดอย่างมีระบบ ชัดเจน และ รัดกุม
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบถี่ถ้วนทำให้สามารถคาดการณ์ ตัดสินใจ และ แก้ปัญหาได้อย่างถี่ถ้วน
5. สามารถนำประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความคิด และทักษะที่ได้จากการเรียนคณิตศาสตร์ไปใช้ในการเรียนรู้และใช้ในชีวิตประจำวัน
6. เพื่อให้การบรรลุผลในแง่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างแท้จริง
(กระทรวงศึกษาธิการ,คู่มือคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6,1,2540)
(สุวิทย์ คุณกิตติ และ คณะ,คู่มือครูสอนคณิตศาสตร์,1,2544)
(มหาวิทยาลัยสุดขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนกลุ่มทักษะ2คณิตสาสตร์,107,2537)
1. ทำให้รู้จักคุณค่าของคณิตศาสตร์และเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
2. มีความรู้ ความเข้าใจในวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานและมีทักษะในการทำงาน
3. รู้จักคิดอย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน และแสดงความคิดอย่างมีระบบ ชัดเจน และ รัดกุม
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบถี่ถ้วนทำให้สามารถคาดการณ์ ตัดสินใจ และ แก้ปัญหาได้อย่างถี่ถ้วน
5. สามารถนำประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความคิด และทักษะที่ได้จากการเรียนคณิตศาสตร์ไปใช้ในการเรียนรู้และใช้ในชีวิตประจำวัน
6. เพื่อให้การบรรลุผลในแง่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างแท้จริง
(กระทรวงศึกษาธิการ,คู่มือคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6,1,2540)
(สุวิทย์ คุณกิตติ และ คณะ,คู่มือครูสอนคณิตศาสตร์,1,2544)
(มหาวิทยาลัยสุดขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนกลุ่มทักษะ2คณิตสาสตร์,107,2537)
3. ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
เป็นการส่งเสริมให้นักเรียน มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม การสอนรูปแบบนี้ต้องการที่จะให้ครูเปลี่ยนการสอนแบบบรรยายมาใช้เป็นการสังเกต การเตรียมการของนักเรียนและการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชา
นักทฤษฎี ชื่อ กานเย ได้กล่าวการแบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้
1. การเรียนรู้เครื่องหมายหรือสัญญาณ
2. การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
3. การเรียนรู้แบบลูกโซ่
4. การเรียนรู้โดยการเชื่อมโยง
5. การเรียนรู้แบบจำแนกความแตกต่าง
6. การเรียนรู้มโนมติ
7. การเรียนรู้กฎหรือหลักการ
8. การเรียนรู้การแก้ปัญหา
(ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล,สอนสนุกสร้างสุขสไตล์สาธิต(ปทุมวัน),234,2550)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์ เล่ม 1,170,2526)
(กระทรวงศึกษาธิการ,คู่มือครูคณิตศาสตร์ ป.6,2,2540)
4. ขอบเขตของคณิตศาสตร์ มีอะไรบ้าง / เรื่องอะไรบ้าง
เป็นการส่งเสริมให้นักเรียน มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม การสอนรูปแบบนี้ต้องการที่จะให้ครูเปลี่ยนการสอนแบบบรรยายมาใช้เป็นการสังเกต การเตรียมการของนักเรียนและการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชา
นักทฤษฎี ชื่อ กานเย ได้กล่าวการแบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้
1. การเรียนรู้เครื่องหมายหรือสัญญาณ
2. การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
3. การเรียนรู้แบบลูกโซ่
4. การเรียนรู้โดยการเชื่อมโยง
5. การเรียนรู้แบบจำแนกความแตกต่าง
6. การเรียนรู้มโนมติ
7. การเรียนรู้กฎหรือหลักการ
8. การเรียนรู้การแก้ปัญหา
(ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล,สอนสนุกสร้างสุขสไตล์สาธิต(ปทุมวัน),234,2550)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์ เล่ม 1,170,2526)
(กระทรวงศึกษาธิการ,คู่มือครูคณิตศาสตร์ ป.6,2,2540)
4. ขอบเขตของคณิตศาสตร์ มีอะไรบ้าง / เรื่องอะไรบ้าง
1. จำนวน ตัวเลข
2. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
3. พื้นฐานทางการวัดเกี่ยวกับการวัด ความยาว การหาพื้นที่ ปริมาณ
4. พื้นฐานทางสถิติ แผนภูมิ กราฟ
5. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
6. พื้นฐานทางรูปเรขาคณิตศาสตร์
(กรมการฝึกหัดครูสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน,เอกสารประกอบการอบรมครูผู้สอน,6,2537)
(กระทรวงศึกษาธิการ,สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์,5,2544)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนกลุ่มทักษะ 2 คณิตศาสตร์,50,2537)
2. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
3. พื้นฐานทางการวัดเกี่ยวกับการวัด ความยาว การหาพื้นที่ ปริมาณ
4. พื้นฐานทางสถิติ แผนภูมิ กราฟ
5. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
6. พื้นฐานทางรูปเรขาคณิตศาสตร์
(กรมการฝึกหัดครูสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน,เอกสารประกอบการอบรมครูผู้สอน,6,2537)
(กระทรวงศึกษาธิการ,สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์,5,2544)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชุดวิชา การสอนกลุ่มทักษะ 2 คณิตศาสตร์,50,2537)
5. หลักการสอน / การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
1. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้สอน
2. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้เรียน
3. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
4. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผุ้สอนอาจจะมีสื่อการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรมมาประกอบการอธิบายหรือการบอกของครูผู้สอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
(ยุพิน พิพิธกุล,การนิเทศการสอนคณิตศาสตร์,122,2544)
(สุวรรณ กาญจนมยูร,เทคนิคการใช้สื่อและเกมคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา,3,2551)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์เล่ม 1,134,2536)
1. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้สอน
2. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้เรียน
3. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
4. วิธีการสอนโดยเน้นกิจกรรมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผุ้สอนอาจจะมีสื่อการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรมมาประกอบการอธิบายหรือการบอกของครูผู้สอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
(ยุพิน พิพิธกุล,การนิเทศการสอนคณิตศาสตร์,122,2544)
(สุวรรณ กาญจนมยูร,เทคนิคการใช้สื่อและเกมคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา,3,2551)
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,เอกสารการสอนชชุดวิชา การสอนคณิตศาสตร์เล่ม 1,134,2536)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น